-
การวิเคราะห์การมีน้ำใช้และผลผลิตน้ำในการเกษตรชลประทาน
ในช่วง 20 ปีที่ผ่านมาประเทศไทยเผชิญความแห้งแล้งที่มีความรุนแรงที่แตกต่างกันซึ่งเป็นแรงกดดันต่อกิจกรรมการเกษตร เนื่องจากปัญหาความขาดแคลนน้ำได้ก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อการผลิตทางการเกษตร จึงถือเป็นความท้าทายอย่างยิ่งที่เกษตรกรต้องเผชิญเมื่อมีการพึ่งพาการชลประทานในการเพาะปลูกพืช แม้ว่าจะมีการวิเคราะห์ผลกระทบของความแปรปรวนของสภาพอากาศต่อผลผลิตพืชและอนาคตของการผลิตพืชบางชนิดโดยใช้แบบจำลองทางวิทยาศาสตร์ที่ได้มีการรายงานไว้ในที่อื่นๆแล้ว ความพยายามในการแก้ไขปัญหาโดยการรวมปัจจัยทางสภาพอากาศทางวิทยาศาสตร์ที่จำลองไว้ในการสร้างแบบจำลองทางเศรษฐกิจยังคงมีจำกัด การศึกษาครั้งนี้ได้วิเคราะห์ประเด็นต่อไปนี้บนพื้นฐานของแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์โดยการใช้การทำการเกษตรชลประทานในพื้นที่ลุ่มน้ำเจ้าพระยาในช่วงฤดูแล้งให้เป็นจุดเน้น a) ผลกระทบของสภาพอากาศที่รุนแรงต่อการตัดสินใจของเกษตรกรเกี่ยวกับการใช้ที่ดินเพื่อการเกษตรและการปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิต b) ประสิทธิภาพของน้ำเพื่อการชลประทานที่ใช้ในการผลิตพืชเศรษฐกิจที่สำคัญ c) การคาดการณ์การผลิตข้าวในภาวะที่มีความเสี่ยงเพิ่มขึ้นในสภาพอากาศที่รุนแรง d) เหตุผลที่อธิบายว่าทำไมการใช้ทรัพยากรน้ำที่มีอย่างจำกัดให้มีประสิทธิภาพมากขึ้นจึงควรเป็นหัวใจของนโยบายการบริหารจัดการน้ำในอนาคต
ข้อมูลเพิ่มเติม
ฟิลด์ | ค่า |
---|---|
ปรับปรุงครั้งล่าสุด | 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2018 |
สร้างแล้ว | ไม่ทราบ |
รูปแบบ | |
ใบอนุญาต | CC-BY-NC-ND-4.0 |
ชื่อ | การวิเคราะห์การมีน้ำใช้และผลผลิตน้ำในการเกษตรชลประทาน |
คำอธิบาย |
ในช่วง 20 ปีที่ผ่านมาประเทศไทยเผชิญความแห้งแล้งที่มีความรุนแรงที่แตกต่างกันซึ่งเป็นแรงกดดันต่อกิจกรรมการเกษตร เนื่องจากปัญหาความขาดแคลนน้ำได้ก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อการผลิตทางการเกษตร จึงถือเป็นความท้าทายอย่างยิ่งที่เกษตรกรต้องเผชิญเมื่อมีการพึ่งพาการชลประทานในการเพาะปลูกพืช แม้ว่าจะมีการวิเคราะห์ผลกระทบของความแปรปรวนของสภาพอากาศต่อผลผลิตพืชและอนาคตของการผลิตพืชบางชนิดโดยใช้แบบจำลองทางวิทยาศาสตร์ที่ได้มีการรายงานไว้ในที่อื่นๆแล้ว ความพยายามในการแก้ไขปัญหาโดยการรวมปัจจัยทางสภาพอากาศทางวิทยาศาสตร์ที่จำลองไว้ในการสร้างแบบจำลองทางเศรษฐกิจยังคงมีจำกัด การศึกษาครั้งนี้ได้วิเคราะห์ประเด็นต่อไปนี้บนพื้นฐานของแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์โดยการใช้การทำการเกษตรชลประทานในพื้นที่ลุ่มน้ำเจ้าพระยาในช่วงฤดูแล้งให้เป็นจุดเน้น a) ผลกระทบของสภาพอากาศที่รุนแรงต่อการตัดสินใจของเกษตรกรเกี่ยวกับการใช้ที่ดินเพื่อการเกษตรและการปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิต b) ประสิทธิภาพของน้ำเพื่อการชลประทานที่ใช้ในการผลิตพืชเศรษฐกิจที่สำคัญ c) การคาดการณ์การผลิตข้าวในภาวะที่มีความเสี่ยงเพิ่มขึ้นในสภาพอากาศที่รุนแรง d) เหตุผลที่อธิบายว่าทำไมการใช้ทรัพยากรน้ำที่มีอย่างจำกัดให้มีประสิทธิภาพมากขึ้นจึงควรเป็นหัวใจของนโยบายการบริหารจัดการน้ำในอนาคต |
ภาษาของเอกสาร |
|