-
ความสำคัญของประมงพื้นบ้านในลำน้ำสาขาย่อยของแม่น้ำโขง กรณีศึกษาลำน้ำเซบกและห้วยขะยุง ประเทศไทย
ข้อมูลในหนังสือเล่มนี้มาจากงานวิจัยเรื่อง “ผลกระทบของเขื่อนไฟฟ้าพลังน้ำต่อ การประมงในแม่น้ำสาขาของแม่น้ำโขงในประเทศไทย” (Fisheries Impacts of Hydropower Dams on Thai Mekong Tributary Rivers) ซึ่งมีพื้นที่การศึกษาหลักอยู่ในลำเซบกและห้วยขะยุงที่เป็นลำน้ำสาขาย่อยของแม่น้ำโขง และเป็นลำน้ำสาขาสำคัญของแม่น้ำมูลตอนล่าง โดยที่แม่น้ำมูลถือเป็นลำน้ำสาขาหลักที่มีพื้นที่ลุ่มน้ำมากเป็นลำดับต้น ๆ ของแม่น้ำโขงที่เป็นแม่น้ำนานาชาติ ทั้งนี้คณะนักวิจัยได้เลือกลำน้ำสาขาย่อยทั้งสอง เนื่องจากเป็นพื้นที่ที่ได้รับ การกล่าวถึงน้อยมากในแง่ผลกระทบในด้านต่าง ๆ รวมถึงด้านการประมงที่เกิดขึ้นจากการสร้างเขื่อนปากมูล ซึ่งตั้งอยู่ห่างจากจุดบรรจบแม่น้ำมูล-แม่น้ำโขงประมาณ 6 กิโลเมตร หรือห่างจากจุดบรรจบลำเซบก-แม่น้ำมูล และจุดบรรจบห้วยขะยุง-แม่น้ำมูล ประมาณ 50 และ 150 กิโลเมตร ตามลำดับ
ข้อมูลเพิ่มเติม
ฟิลด์ | ค่า |
---|---|
ปรับปรุงครั้งล่าสุด | 20 กรกฎาคม ค.ศ. 2018 |
สร้างแล้ว | ไม่ทราบ |
รูปแบบ | |
ใบอนุญาต | CC-BY-NC-4.0 |
ชื่อ | ความสำคัญของประมงพื้นบ้านในลำน้ำสาขาย่อยของแม่น้ำโขง กรณีศึกษาลำน้ำเซบกและห้วยขะยุง ประเทศไทย |
คำอธิบาย |
ข้อมูลในหนังสือเล่มนี้มาจากงานวิจัยเรื่อง “ผลกระทบของเขื่อนไฟฟ้าพลังน้ำต่อ การประมงในแม่น้ำสาขาของแม่น้ำโขงในประเทศไทย” (Fisheries Impacts of Hydropower Dams on Thai Mekong Tributary Rivers) ซึ่งมีพื้นที่การศึกษาหลักอยู่ในลำเซบกและห้วยขะยุงที่เป็นลำน้ำสาขาย่อยของแม่น้ำโขง และเป็นลำน้ำสาขาสำคัญของแม่น้ำมูลตอนล่าง โดยที่แม่น้ำมูลถือเป็นลำน้ำสาขาหลักที่มีพื้นที่ลุ่มน้ำมากเป็นลำดับต้น ๆ ของแม่น้ำโขงที่เป็นแม่น้ำนานาชาติ ทั้งนี้คณะนักวิจัยได้เลือกลำน้ำสาขาย่อยทั้งสอง เนื่องจากเป็นพื้นที่ที่ได้รับ การกล่าวถึงน้อยมากในแง่ผลกระทบในด้านต่าง ๆ รวมถึงด้านการประมงที่เกิดขึ้นจากการสร้างเขื่อนปากมูล ซึ่งตั้งอยู่ห่างจากจุดบรรจบแม่น้ำมูล-แม่น้ำโขงประมาณ 6 กิโลเมตร หรือห่างจากจุดบรรจบลำเซบก-แม่น้ำมูล และจุดบรรจบห้วยขะยุง-แม่น้ำมูล ประมาณ 50 และ 150 กิโลเมตร ตามลำดับ |
ภาษาของเอกสาร |
|