-
การปล้นไม้ชิงชัน:กรณีประเทศไทยจะขึ้นบัญชีไม้ชิงชันในอนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดพันธุ์สัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์
การตัดไม้ชิงชันที่ผิดกฎหมายและไม่ยั่งยืนถือเป็นภัยคุกคามหลักต่อพื้นที่ป่าเหลือยู่ทิ้งของประเทศไทยโดยเฉพาะอย่างยิ่งในภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ความต้องการที่เป็นพิเศษสำหรับเฟอร์นิเจอร์หรูหรา 'ฮองมู' หรือต้นไม้ที่มีเนื้อสีแดงในประเทศจีนกำลังเป็นตัวเคลื่อนให้เกิดการตัดไม้ประเภทนี้ ขณะที่มีการควบคุมการตัดไม้ชิงชันและการค้าภายในประเทศไทยและภายในระดับภูมิภาค แต่ถึงกระนั้นก็ยังไม่สามารถควบคุมการขยายตัวของการค้าระหว่างประเทศที่ผิดกฎหมายได้ ประเทศไทยพยายามป้องกันไม้ชิงชันโดยการขึ้นบัญชีในอนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดพันธุ์สัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์ในปี พ.ศ. 2551 แต่ถูกคัดฝ่ายค้านจากประเทศต่างๆ เช่น ลาวและกัมพูชาห้ามไม่ให้มีการจดทะเบียนในภาคผนวกของอนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดพันธุ์สัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์ ตั้งแต่นั้นมาตลาดไม้ชิงชันมีการขยายตัวในประเทศจีนส่งผลโดยตรงต่อการเพิ่มขึ้นของการลักลอบตัดไม้ชิงชันและมีการลักลอบค้าในประเทศไทย ประเทศไทยจึงมีความจำเป็นอย่างเร่งด่วนที่จะแสดงให้เห็นถึงเจตนารมณ์ในการปกป้องป่าไม้ชิงชันและอนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดพันธุ์สัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์เป็นกลไกที่ดีที่สุดและรวดเร็วที่สุดในการทำเช่นนั้น
ข้อมูลเพิ่มเติม
ฟิลด์ | ค่า |
---|---|
ปรับปรุงครั้งล่าสุด | 2 กรกฎาคม ค.ศ. 2018 |
สร้างแล้ว | ไม่ทราบ |
รูปแบบ | |
ใบอนุญาต | unspecified |
ชื่อ | การปล้นไม้ชิงชัน:กรณีประเทศไทยจะขึ้นบัญชีไม้ชิงชันในอนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดพันธุ์สัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์ |
คำอธิบาย |
การตัดไม้ชิงชันที่ผิดกฎหมายและไม่ยั่งยืนถือเป็นภัยคุกคามหลักต่อพื้นที่ป่าเหลือยู่ทิ้งของประเทศไทยโดยเฉพาะอย่างยิ่งในภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ความต้องการที่เป็นพิเศษสำหรับเฟอร์นิเจอร์หรูหรา 'ฮองมู' หรือต้นไม้ที่มีเนื้อสีแดงในประเทศจีนกำลังเป็นตัวเคลื่อนให้เกิดการตัดไม้ประเภทนี้ ขณะที่มีการควบคุมการตัดไม้ชิงชันและการค้าภายในประเทศไทยและภายในระดับภูมิภาค แต่ถึงกระนั้นก็ยังไม่สามารถควบคุมการขยายตัวของการค้าระหว่างประเทศที่ผิดกฎหมายได้ ประเทศไทยพยายามป้องกันไม้ชิงชันโดยการขึ้นบัญชีในอนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดพันธุ์สัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์ในปี พ.ศ. 2551 แต่ถูกคัดฝ่ายค้านจากประเทศต่างๆ เช่น ลาวและกัมพูชาห้ามไม่ให้มีการจดทะเบียนในภาคผนวกของอนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดพันธุ์สัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์ ตั้งแต่นั้นมาตลาดไม้ชิงชันมีการขยายตัวในประเทศจีนส่งผลโดยตรงต่อการเพิ่มขึ้นของการลักลอบตัดไม้ชิงชันและมีการลักลอบค้าในประเทศไทย ประเทศไทยจึงมีความจำเป็นอย่างเร่งด่วนที่จะแสดงให้เห็นถึงเจตนารมณ์ในการปกป้องป่าไม้ชิงชันและอนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดพันธุ์สัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์เป็นกลไกที่ดีที่สุดและรวดเร็วที่สุดในการทำเช่นนั้น |
ภาษาของเอกสาร |
|