Skip to content

แบบจำลองการปรับตัวที่เหมาะสมของเกษตรกรที่ปลูกยางพารา (Hevea Brasiliensis) ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย

พิมพ์โดย: Open Development Thailand

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเศรษฐกิจ สังคม และวิถีชีวิตทางวัฒนธรรมและรูปแบบการปรับตัวที่เหมาะสมของเกษตรกรที่ปลูกยางพาราในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย พื้นที่ศึกษาครอบคลุม 6 จังหวัดคือมหาสารคาม ร้อยเอ็ด ขอนแก่น หนองคาย อุดรธานีและเลย จากการศึกษาพบว่าเกษตรกรในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยมีรายได้จากการผลิตด้วยตนเองและแบ่งปันทรัพยากรกับคนอื่น ในช่วงที่มีการเปลี่ยนแปลง ราคาพืชเศรษฐกิจเพื่ออุตสาหกรรมแบบดั้งเดิมลดลงและเกษตรกรเริ่มปลูกยางพารามากขึ้นเนื่องจากได้รับการส่งเสริมจากรัฐบาล

ทรัพยากรข้อมูล (1)

ตัวอย่างทรัพยากรข้อมูล - แบบจำลองการปรับตัวที่เหมาะสมของเกษตรกรที่ปลูกยางพารา (Hevea Brasiliensis) ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย

ข้อมูลเพิ่มเติม

ฟิลด์ ค่า
ประเภทเอกสาร Reports, journal articles, and research papers (including theses and dissertations)
ภาษาของเอกสาร
  • ภาษาอังกฤษ
หัวข้อเรื่อง
  • Agricultural processing
  • Agriculture
  • Rubber
พื้นที่ทางภูมิศาสตร์ (ช่วงข้อมูล)
  • ไทย
ลิขสิทธิ์ Yes
ข้อจำกัดการเข้าถึงและการใช้งาน

This journal article is open journal and access under License: CC BY-SA

เวอร์ชั่น / รุ่น 1.0
ใบอนุญาต Creative Commons Attribution
ข้อมูลติดต่อ

Montri Srirajlao The Research Institute of Northeastern Arts and Culture Mahasarakham University Maha Sarakham, 44000, Thailand Tel: +66-43-721686134

ผู้แต่ง (บุคคล) Srirajlao, Montri
ผู้แต่งร่วม (บุคคล) Aengwanich, Worapol; Ieamvijarn, Subunn
เลขหนังสือ ISSN 1549-3652
สำนักพิมพ์ Science Publications
วันที่พิมพ์ 2010
จำนวนหน้า 3
หมายเหตุทั่วไป

Journal of Social Sciences Issue 6,Number 2,167-169

คำสำคัญ farmers,self-adjustment,Para-rubber,Northeastern Thailand
วันที่อัพโหลด สิงหาคม 17, 2015, 07:05 (UTC)
แก้ไขเมื่อ สิงหาคม 31, 2020, 03:51 (UTC)