Skip to content

การจัดทำแผนที่การกระจายตัวของต้นยางพาราในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย

พิมพ์โดย: Open Development Thailand

บทความนี้นำเสนอผลการทำแผนที่การเจริญเติบโตของต้นยางพาราในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยโดยใช้ข้อมูล Landsat 5 TM โดยใช้วิธี Mahalanobis ซึ่งโดยปกติใช้เพื่อระบุอายุยางพาราที่แตกต่างกัน การศึกษาได้ใช้แผนที่ Landsat 5 TM 30 m แถบสะท้อนแสงที่ไม่ใช่ความร้อน ดัชนีพืชพรรณ และองค์ประกอบการเปลี่ยนแปลงของแถบภาพถ่ายให้เป็นตัวชี้วัดนำเข้าของแบบจำลอง การตรวจสอบความถูกต้องได้ดำเนินการโดยใช้ข้อมูลทางสถิติการเกษตรของจังหวัดในพื้นที่ปลูกยางพารา ผู้เขียนได้สรุปว่าในระดับภูมิภาค (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย) และระดับจังหวัดมีการประมาณการอายุที่โตเต็มที่และอายุระดับปานกลางของต้นยางพาราจากข้อมูล Landsat 5 TM 30 m เปรียบเทียบได้ดีกับข้อมูลสถิติการเติบโตของยางพาราของระดับจังหวัด

ทรัพยากรข้อมูล (1)

ตัวอย่างทรัพยากรข้อมูล - การจัดทำแผนที่การกระจายตัวของต้นยางพาราในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย

ข้อมูลเพิ่มเติม

ฟิลด์ ค่า
ประเภทเอกสาร Reports, journal articles, and research papers (including theses and dissertations)
ภาษาของเอกสาร
  • ภาษาอังกฤษ
หัวข้อเรื่อง
  • Agricultural production
  • Agriculture
  • Forest products
  • Plants
  • Rubber
พื้นที่ทางภูมิศาสตร์ (ช่วงข้อมูล)
  • ไทย
ลิขสิทธิ์ Yes
เวอร์ชั่น / รุ่น 1.0
ใบอนุญาต CC-BY-4.0
ข้อมูลติดต่อ

Zhe Li, zhe.li@agr.gc.ca; Jefferson M. Fox, foxj@eastwestcenter.org.

ผู้แต่ง (บุคคล) Zhe Li
ผู้แต่งร่วม (บุคคล) Fox, Jefferson M.
สำนักพิมพ์ Scientific Research
วันที่พิมพ์ 2011
หมายเหตุทั่วไป

International Journal of Geosciences,Volume 2,573-584

วันที่อัพโหลด มิถุนายน 21, 2015, 13:25 (UTC)
แก้ไขเมื่อ มีนาคม 14, 2018, 05:59 (UTC)