Skip to content

กลุ่มชาติพันธุ์ในไทย คนที่ต้องไม่ถูกลืม

พิมพ์โดย: Open Development Thailand

หลังจากสังคมไทยมีความขัดแย้งทำให้ปัญญาชนกลุ่มหนึ่งหนีออกจากเมืองไปอยู่ป่า แล้วพบเข้ากับกลุ่มคนชาติพันธุ์อื่นที่ไม่ได้เรียกตัวเองว่าไทย แต่เป็นกะเลิง ผู้ไท อาข่า มูเซอ อีก้อ เย้า และอีกมากมาย ต่อมามีการอนุญาตให้ผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ (ผกค.) เปลี่ยนเป็นผู้ร่วมพัฒนาชาติไทย ทำให้กลุ่มนักศึกษาหรือปัญญาชนทั้งหลายกลับสู่สังคมเมือง ด้วยเหตุนี้จึงมีการบอกเล่าความเป็นไปในสังคมว่า “แท้จริงแล้วคนไทยมีความหลากหลาย” ทำให้เกิดการก่อตั้งสถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท หรือปัจจุบันคือ สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล เพื่อผลิตนักภาษาศาสตร์ให้ลงพื้นที่ทำงานวิจัยเกี่ยวกับภาษาและวัฒนธรรมในชนบทของไทย แล้วนำความรู้ที่ได้มาเผยแพร่ให้คนทั่วไปได้ทราบโดยทั่วกันผ่านสื่อที่เรียกว่า “สารานุกรม”

ทรัพยากรข้อมูล (1)

ข้อมูลเพิ่มเติม

ฟิลด์ ค่า
ประเภทเอกสาร Archived web content
ภาษาของเอกสาร
  • ไทย
หัวข้อเรื่อง Ethnic minorities and indigenous people policy and rights
พื้นที่ทางภูมิศาสตร์ (ช่วงข้อมูล)
  • ไทย
ลิขสิทธิ์ Yes
ข้อจำกัดการเข้าถึงและการใช้งาน

This news is under the Post Group.

เวอร์ชั่น / รุ่น 2019
ใบอนุญาต Creative Commons Attribution Share-Alike
ข้อมูลติดต่อ

ลิงก์ต้นฉบับ : https://www.posttoday.com/life/healthy/536686

ผู้แต่ง (หน่วยงาน) โพสต์ทูเดย์
สถานที่พิมพ์ กรุงเทพฯ ประเทศไทย
สำนักพิมพ์ โพสต์ทูเดย์
วันที่พิมพ์ 2018
คำสำคัญ indigenous peoples,Database,Encyclopedia
วันที่อัพโหลด สิงหาคม 31, 2020, 06:28 (UTC)
แก้ไขเมื่อ สิงหาคม 31, 2020, 06:30 (UTC)